วันอังคารที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2555

farsi for beginner

นั่งชิว ชิว กินลม ชมวิว แล้วก้อดื่มชา ตามสไตล์ อิหร่านนี่
ฟังเสียงดนตรี พื้นบ้านอิหร่าน ล่องลอยมาตามสายลม พร้อมกินหอม หอม จากปล้องบารากุตัวยาว ลงตัวยิ่งนัก...






อารมณ์พาเพลินจริงๆๆ บทต่อไป คงต้องมาเริ่มกันจิงจัง
จากการสนทนา แบบ อิหร่านนี่ กันดีก่าน่ะ


salam = hello
sob bekheir = good morning
asr bekheir = good afternoon
shab bekheir = good night

chetori ? = how are you??
khubi ? = how are you??


**ใช้ได้เหมือนกานแล้วแต่ความพอใจ แต่ chetori? ฟังดูเปนทางการมากกว่า


bale = yes (polite) are = yes (informal)

na = no
mersi/mamnoon = thank you


ตัวอย่างการสนทนา
A : salam, chetori? // hello, how r u?
B : salam man khubam mersi // hello, i m fine thanks
: shomA ,chetori? // and u?
A : mersi manam khubam // i m fine too



การแนะนำตัว

esme man ..... = my name is.....
......hastam = i m .....
example : my name is hediye
: esme man hediye
: i m student
: man dAneshu hastam // dAneshu hastam

**โดยทั่วไปในภาษาฟาร์ซีสามารถ ละ ประธานของประโยคได้

ตัวอย่างการสนทนา

A : Esme shoma chie? // what is ur name?
B : esme man ali. // My name is ali
A : az AshnAyitun khosh bakhtam.man hassan hastam
// pleased to meet u. i m hassan.
B : kheyli mamnoon. chand salet? //thank you very much. how old r u?
A : 25 sal. khob, man beyad beram alan// 25 yrs old. by the way, i have to go now
B : bashe. khoda hafez // okay. bye
A : Khoda hafez // bye

**khoda hafez ใช้แสดงการจากลา โดยมีนัยถึง พระเจ้าคุ้มครอง ตามทำเนียมอิหร่านซึ่งเปนชาวมุสลิม


useful words
yek = one
do = two
se = three
chAhAr = four
panj = five
shish = six
haft = seven
hasht = eight
noh = nine
dah = ten
































Farsi Alphabet



ตาราง ตัวอักษรภาษาฟาร์ซี หรือ ภาษาเปอร์เซีย
หรือ ภาษาอิหร่าน



พยัญชนะ ของฟาร์ซีมีทั้งหมด 32 ตัว (ยืมของอาหรับมา 28 ตัว เพิ่มเองอีก 4 ตัว)


ในการเขียน แบ่งออก เป็น รูปต้น กลาง และท้าย ตามแต่ ตำแหน่งของตัวอักษรที่จะต้องไปเชื่อมกับพยัญชนะ อื่นๆ ในคำ


สระ ในภาษาฟาร์ซี แบ่ง ออกเป็น 3 เสียง คือ
1. เสียงสั้น ได้แก่ อะ อิ โอะ อุ
2. เสียงยาว ได้แก่ ออ อู อี
3 . เสียงผสม ได้แก่ เอ โอ





...รู้พอเป็นพิธีแล้ว เราก้อมาเน้น เน้น ที่ การสนทนาดีกว่าค่ะ เริ่มจาก...

1.) Pronoun หรือว่า คำสรรพนามน่ะเอง

I = man you (plu.) = shomA
you = shomA/to we = mA
he/she/it = u they = unhA

2.) Object หรือว่ากรรมในภาษาฟาร์ซีนั้น ไม่ต้องเปลี่ยนให้ยุ่งยาก เหมือนภาษาอังกฤษ
แต่จะมีคำที่บ่งชี้เฉพาะ อย่างเช่น ro

ตัวอย่างเช่น man ketab ro mikhAnam : i m reading book
u man ro hast* : it is me

*ในภาษาฟาร์ซี เมื่อใช้พูด ก้อจามีรูปย่อ อย่างเช่น man ro = mano

3.) Verb ในภาษาฟาร์ซีนั้น ก้อจะมีการผันกริยา ตามประธาน เวลา และ สถานการณ์
ถ้าใครที่เคยเรียนภาษาฝรั่งเศส หรือภาษาญี่ปุ่นก้อคงจาเข้าใจได้ไม่ยาก

ตัวอย่างเช่น man gorbe ro dust dAram : i like cat

dust dAram = i like dust dArid = you like (plu.)
dust dAri = you like dust darim = we like
dust dad = he/she/it likes dust darand = they like
จะสังเกตุได้จากตัวท้ายกริยาที่ผันตามประธาน

i = -am you(plu.) = -id
you = -i we = -im
he/she/it =-ad they = -and

โครงสร้างโดยทั่วไปของประโยคก้อจะอยู่ในรูป Sub. + Obj. + Verb

.......เท่านี้ก่อนแล้วกานน่ะ......khoda hafez